ถ่ายภาพ : ภาพถ่ายสามารถถ่ายทอดเรื่องราวได้มากกว่าที่คิด
ถ่ายภาพ การถ่ายภาพ นอกจากจะสามารถ บอกอารมณ์ สื่อถึงความงาม สะท้อนให้เห็น ถึงความรู้สึกของภาพ ยังสามารถ ถ่ายทอดเรื่องราว เรื่องเล่าผ่านทาง ภาพถ่ายได้ เป็นอย่างดี แล้วพอผ่านภาพถ่ายนั้น สามารถขออนุญาต
แต่จานอะไร ให้ผู้ที่เห็นภาพถ่าย ที่เราถ่ายออกมา ถ่ายภาพ 3 มิติ เข้าใจถึงเรื่องราว ถึงเรื่องราวที่ เราต้องการที่ จะสื่อ โดยช่างภาพ แต่ต้องเข้าใจด้วยว่า ความสวยงาม ของภาพนั้น เกิดจากอะไร และ ต้องการที่จะให้ ความสวยงามนั้น สื่อถึงอ่ะไร
หากต้องการ ที่จะเอาเรื่อง หรือสายเข้าใจ ผ่านรูปภาพ สามารถทำได้ไม่ยาก โดยเทคนิค ที่เราได้นำมาแบ่งปัน เป็นเทคนิค ที่นิยมใช้กัน อย่างแพร่หลาย ซึ่งเชื่อว่า ได้ลองนำไปใช้หรือ ประยุกต์ใช้ ตามความถนัด รับรองได้เลยว่า จะต้องสามารถ เล่าเรื่องราวออกมา ได้เป็นอย่างดี
ถึงแม้ว่า ในความเป็นจริงแล้วนั้น ผู้ที่จะสามารถ ทราบเรื่องราวของ รูปถ่ายได้จะต้องมี คนที่มี อารมณ์สุนทรีย์ หรือมีความเป็น ศิลปินในตัวสูง แต่ถ้าหากว่า เรื่ององค์ประกอบ ทุกอย่างออกมา ดีรับรองได้เลยว่า จะต้องสามารถสื่อสาร ได้อย่างแน่นอน
เพราะเทคนิคเหล่านี้ เป็นเทคนิคที่ต่อ ผู้เชี่ยวชาญ คอนเซ็ป ถ่ายภาพ มาใช้รับถ่ายวีดีโอ และ โฆษณารวมถึง รับถ่ายภาพต่างๆ รับรองได้เลยว่า แม้คุณเป็นมือใหม่ ก็จะสามารถสื่อสาร เรื่องราวผ่านภาพถ่าย ได้อย่างแน่นอน และ เทคนิคที่เรา นำมาฝาก มีทั้งหมด 5 หัวข้อ ดังนี้
1. ภาพต้องสื่ออารมณ์ชัดเจน หลังจากดูภาพเเล้วอยากให้ผู้ชมรู้สึกอย่างไร
การสื่อสารอารมณ์ภาพ หรือตัวเเบบต้องชัดเจน ต้องให้ความรู้สึก หรืออารมณ์ชัดเจน ในทันที่ที่ มองภาพว่า ต้องได้ความรู้สึกอะไร หลังจากการมองภาพ ซึ่งอารมณ์ภาพชัดเจน ก็จะทำให้ เรื่องราวที่ต้องการ จะสื่อชัดเจนมากยิ่งขึ้น เทคนิคถ่ายภาพ ภาพก็จะดูสวยมาก ยิ่งขึ้นด้วย เช่น ดูเเล้วสนุก สดใส หรือความยิ่งใหญ่ อลังการ น่าเกรงขาม ความสงบ ความเศร้า เเละ ความเหงา

2. ลองถามคำถามว่าต้องการให้ภาพสื่ออะไร เล่าเรื่อง ถามให้คิด หรือบอกให้ทำอะไร
หลักการสื่อสาร โดยทั่วไปคือ การเล่าเรื่อง การถามให้คิด หรือการบอกให้ทำ ดังนั้น ก่อนการถ่ายภาพ การเตรียมเรื่อง คอนเซ็ปต์ภาพ เทคนิคถ่ายภาพบุคคล จึงสำคัญ เพราะจะต้องสื่อออกมา ให้ผู้ชมเข้าใจว่า จุดมุ่งหมายของภาพ คืออะไร เช่นการถ่ายภาพ เเนวคอนเซ็ปต์ จะต้องเตรียมโจทย์ เรื่องนี้เป็นพิเศษ ส่วนการถ่ายภาพวิว หรือภาพเเนวสตรีท ก็จะต้องคำนึง ถึงจุดนี้ ด้วยเช่นกัน

3. เลือกตัวเเบบที่น่าสนใจ สร้างลักษณะเด่น คาเเรคเตอร์ของตัวเเบบชัดเจน
ตัวเเบบเป็นตัว ที่จะเป็นจุดเด่น ของภาพอยู่เเล้ว ดังนั้น การเลือกตัวเเบบ หรือตัวหลักของเรื่อง ที่ต้องการจะสื่อสาร ก็ต้องเลือกที่ดู น่าสนใจ ถ่ายภาพจากกล้องโทรศัพท์ มีลักษณะหรือ คาเเรคเตอร์ที่ชัดเจน ไม่ได้พูดถึง เพียงเเค่การถ่ายบุคคล เท่านั้น เเต่หมายถึง การถ่ายภาพวิว หรือสิ่งของ ก็ทำหลักการนี้ ด้วยเช่นกัน

4. ดูเรื่องสี อารมณ์เเละโทนภาพ เพื่อให้ผู้ชมรู้สึกเชื่อมโยงกับภาพ
เมื่อตัวเเบบ สื่ออารมณ์เเล้ว เรื่องสีสัน เเละ โทนสีของภาพ ธีมโดยรวม ก็จะต้องสื่อสาร ไปในเเนวเดียวกันด้วย เช่น ถ้าอารมณ์ของ ภาพสดใส ธีมสีองค์ประกอบ โทนสีของทั้งภาพ โทนเเสง ก็จะต้องให้อารมณ์ ในเเนวเดียวกัน เทคนิคถ่ายรูปด้วยโทรศัพท์มือถือ เช่นเดียวกับ การสื่ออารมณ์เศร้า เหงา สีสันของโทนภาพ ที่ปรับก็ จะออกเเนวขุ่นมัว สีทึบ ส่งผลให้ทั้งถาพดูเหงา เเละ โดดเดียวอย่างชัดเจน

5. ภาพไม่ต้องซับซ้อนมาก พยายามให้ดูง่าย เเละเข้าใจง่ายที่สุด
องค์ประกอบที่จะช่วยให้เรื่องราวสื่อสารได้ชัด ไม่จำเป็นต้องซับซ้อนหรือมีรายละเอียดมากเพียงเเต่เป็นภาพที่สื่อสารผ่านองค์ประกอบ เเละการจัดวางที่เข้าใจง่าย มองเเล้วเข้าใจทันทีเพราะถ้าหากซับซ้อนมากไป จะเป็นการเพิ่มข้อมูลลงไป ท่าโพสผู้ชายยืน ทำให้ภาพอาจจะดูเหมือนน่าสนใจ เเต่ก็อาจจะทำให้คนดูสับสนได้

ขอบคุณข้อมูลดีๆจาก เพจ ดีเอสออร์แกไนซิ่ง จำกัด
Leave a Reply